Home

In A Vibrant World Of JCDC

“เรากำลังมองหาบ้าน” Jean-Charles de Castelbajac ศิลปินและดีไซเนอร์ผู้เลื่องชื่อกล่าวขณะที่รินกาแฟจากกาซึ่งเขาออกแบบเองลงสู่ถ้วยเอสเพรสโซ่กระเบิ้องที่มีหูจับเป็นปีกสีสดใส “ผมอยากจะสร้างประติมากรรมที่ชิ้นใหญ่ยิ่งขึ้น ดังนั้นผมจึงต้องการห้องทำงานที่ใหญ่กว่าเดิม ซึ่งนั่นอาจจะหมายความว่าเราต้องย้ายออกนอกตัวเมือง”

นี่คืออพาร์ทเมนต์แห่งที่ 23 ในกรุงปารีสและน่าจะเป็นอพาร์ตเมนต์ที่สุดท้ายของเขา ที่พักอาศัยสำหรับครอบครัวแห่งนี้เป็นอพาร์ทเม้นต์สไตล์คลาสสิคแบบ Haussmann ในเขต 17 ของกรุงปารีส ซึ่งห่างจากประตูชัยเพียงระยะเวลาเดินสั้นๆ อยู่ถัดจากร้านขายขนมปังซึ่งขายขนมเมเดลีนและขนมปังฝรั่งเศสรสชาร์โคล และยังมองออกไปเห็นแผงขายผลไม้ที่หัวมุมถนน 

Jean-Charles de Castelbajac ศิลปินและดีไซเนอร์ผู้เลื่องชื่อ
Jean-Charles de Castelbajac ศิลปินและดีไซเนอร์ผู้เลื่องชื่อ

นี่คืออพาร์ทเมนต์แห่งที่ 23 ในกรุงปารีสและน่าจะเป็นอพาร์ตเมนต์ที่สุดท้ายของเขา ที่พักอาศัยสำหรับครอบครัวแห่งนี้เป็นอพาร์ทเม้นต์สไตล์คลาสสิคแบบ Haussmann ในเขต 17 ของกรุงปารีส ซึ่งห่างจากประตูชัยเพียงระยะเวลาเดินสั้นๆ อยู่ถัดจากร้านขายขนมปังซึ่งขายขนมเมเดลีนและขนมปังฝรั่งเศสรสชาร์โคล และยังมองออกไปเห็นแผงขายผลไม้ที่หัวมุมถนน 

ดีไซเนอร์อายุ 72 ผู้ซึ่งมีลายเซ็นในการใช้รูปคาแรกเตอร์ตัวการ์ตูนและการใช้แม่สีสดใสย้ายมาอยู่ที่นี่ได้สองปีแล้ว หลังจาก Pauline de Drouas วัย 36 ภรรยานักกวีของเขาค้นพบว่าตัวเองตั้งครรภ์ “ในตอนนั้นบ้านของเราเป็นอพาร์ทเม้นต์ที่มีสวนโรแมนติกกว่าที่นี่” เขาเล่า “แต่เราต้องการสถานที่ซึ่งใช้งานได้ดีและมี พื้นที่ให้ผมสามารถทำงานได้” ไม่กี่วันหลังจาก Eugenie ลูกสาวของพวกเขาถือกำเนิด กรุงปารีสก็เข้าสู่สภาวะล็อกดาวน์ ดังนั้นการย้ายบ้านจึงนับว่าเป็นเคราะห์ดีอย่างยิ่ง “ผมสามารถที่จะวาดรูปและทำงานได้ทุกวัน บางส่วนของงานวาดรูปที่ทำนั้นรวมอยู่ในหนังสือที่เพิ่งได้รับการตีพิมพ์ ผมยังได้ใช้เวลาพอสมควรเพื่อแต่งเพลงให้กับ Eugenie การได้มีเธอเป็นการบำบัดที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลก” 

ไม่กี่วันหลังจาก Eugenie ลูกสาวของพวกเขาถือกำเนิด กรุงปารีสก็เข้าสู่สภาวะล็อกดาวน์ ดังนั้นการย้ายบ้านจึงนับว่าเป็นเคราะห์ดีอย่างยิ่ง “ผมสามารถที่จะวาดรูปและทำงานได้ทุกวัน บางส่วนของงานวาดรูปที่ทำนั้นรวมอยู่ในหนังสือที่เพิ่งได้รับการตีพิมพ์ ผมยังได้ใช้เวลาพอสมควรเพื่อแต่งเพลงให้กับ Eugenie การได้มีเธอเป็นการบำบัดที่ยอดเยี่ยมที่สุดในโลก”

ดีไซเนอร์ผู้ซึ่งโด่งดังในยุค 70s มาจากผลงานศิลปะ upcycled และผลงานเชิงล้อเลียน ผู้ซึ่งนับว่า Keith Haring, Andy Warhol และ Malcolm McLaren เป็นเพื่อนสนิทของเขาและผู้ร่วมคอลแลบได้ทำการ comeback ครั้งยิ่งใหญ่สู่วงการแฟชั่นเมื่อเขาเข้ารับตำแหน่ง Creative Director ของ Benetton ในปี 2019 ซึ่งดูเหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะการใช้สีสันสดใสทั้งฟ้า เขียว เหลือง แดงของ Castelbajac นั้นกลมกลืนกับ DNA ของแบรนด์อิตาเลียนนี้เป็นอย่างดี และเขาได้ร่วมงานกับ Oliviero Toscani ช่างภาพผู้โด่งดังของ Benetton เป็นเวลาหลายปี ซึ่งในบ้านของของ Castelbajac ถัดจากโต๊ะกินข้าว เป็นผนังที่เต็มไปด้วยภาพพอร์ตเทรตฝีมือ Toscani ในช่วงปี 80s อาทิ ภาพกลุ่มเพื่อนๆใส่เสื้อผ้านิตแวร์จากแบรนด์ Iceberg ของเขา “Vivienne, Andy, Franco Moschino และ Ettore Sottsass…เขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นอินฟลูเอนเซอร์ผู้ยิ่งใหญ่ของยุค” 

และเขาได้ร่วมงานกับ Oliviero Toscani ช่างภาพผู้โด่งดังของ Benetton เป็นเวลาหลายปี ซึ่งในบ้านของของ Castelbajac ถัดจากโต๊ะกินข้าว เป็นผนังที่เต็มไปด้วยภาพพอร์ตเทรตฝีมือ Toscani ในช่วงปี 80s อาทิ ภาพกลุ่มเพื่อนๆใส่เสื้อผ้านิตแวร์จากแบรนด์ Iceberg ของเขา “Vivienne, Andy, Franco Moschino และ Ettore Sottsass…เขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นอินฟลูเอนเซอร์ผู้ยิ่งใหญ่ของยุค” 

แบรนด์ Iceberg นั้นยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน หากแต่เป็น Castelbajac ผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นในช่วงปี 70 ช่วงเวลาเดียวกันกับที่ McLaren เพื่อนของเขาคิดค้นกระแสพังค์ในลอนดอน เขาก็สร้างเสื้อผ้าไหมพรมลวดลายการ์ตูน ตั้งแต่ Road Runner และ Jerry ไปจนถึง Felix The Cat ขึ้นที่ปารีส และสร้างคำนิยามใหม่ให้เกิดแรงกระเพื่อมกับแฟชั่นแบบสตรีทแวร์ซึ่งถูกยึดครองด้วยวัฒนธรรมฮิปฮ็อป “เสื้อผ้าเหล่านั้นกลายเป็นตราประจำตระกูลของเด็ก Afro American” เขากล่าว “และนั่นเป็นเวลานานกว่าที่สไตล์นี้จะได้รับความเคารพอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน คือเป็นราชนิกุลของเหล่าอินฟลูเอ็นเซอร์”

Castelbajac เรียกอพาร์ตเม้นต์ของเขาว่าเป็น “Cabinet of Curiosities” หรือตู้เก็บข้าวของน่าสนใจจากทุกมุมโลก ที่นี่รวบรวมเอาคอลเล็กชั่นแห่งความทรงจำและผลงานมากมายจากช่วงการทำงาน 50 ปี มีทั้งข้าวของที่เขาเป็นผู้สร้างขึ้น เฟอร์นิเจอร์จาก Sottsass เพื่อนผู้ล่วงลับ (ผู้ก่อตั้ง postmodern memphis collective) และผลงานศิลปะจาก Keith Haring และเพื่อนคนอื่นๆ มีเก้าอี้ซึ่งเป็นผลงานคอลแลบกับ Kanye West และที่อีกมุมห้องก็มีเก้าอี้อีกตัวซึ่งมีแจ็คเก็ตพาดอยู่เบื้องหลัง เป็นแจ็กเก็ตที่ประกอบขึ้นจากการเย็บตุ๊กตาหมีหลากสีเข้าด้วยกัน “แจ็กเก็ตตัวนี้ถูกใส่ครั้งแรกโดย LL Cool J ในช่วง 80s” เขาเล่า “ผมยังจำได้ว่าเขาพูดว่าการใส่เสื้อผ้าของผมนั้นทำให้เขารู้สึกราวกับการได้สวมเสื้อโค้ตสำหรับพระเจ้าเฮนรี่ที่แปด” ในช่วงปีหลังๆ มานี้เขาได้กลายเป็นที่นิยมของชาวลอนดอนเป็นอย่างมากและได้รับชื่อเล่นใหม่ว่า “JCDC” 

และที่อีกมุมห้องก็มีเก้าอี้อีกตัวซึ่งมีแจ็คเก็ตพาดอยู่เบื้องหลัง เป็นแจ็กเก็ตที่ประกอบขึ้นจากการเย็บตุ๊กตาหมีหลากสีเข้าด้วยกัน “แจ็กเก็ตตัวนี้ถูกใส่ครั้งแรกโดย LL Cool J ในช่วง 80s” เขาเล่า “ผมยังจำได้ว่าเขาพูดว่าการใส่เสื้อผ้าของผมนั้นทำให้เขารู้สึกราวกับการได้สวมเสื้อโค้ตสำหรับพระเจ้าเฮนรี่ที่แปด” ในช่วงปีหลังๆ มานี้เขาได้กลายเป็นที่นิยมของชาวลอนดอนเป็นอย่างมากและได้รับชื่อเล่นใหม่ว่า “JCDC” 

สำหรับตัวเขาที่ดูจะหมกมุ่นกับสีสันสดใส มันก็เป็นเรื่องน่าแปลกใจที่ Castelbajac มีคอลเล็คชั่นอันน่าประทับใจของภาพถ่ายขาวดำจำนวนมาก รวมไปถึงผลงานของ Diane Arbus และเพื่อนเก่าของเขา Robert Mapplethorpe หากทั้งหมดเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่เขาเรียกว่า “สภาวะคู่กัน” เขากล่าวว่า “ก่อนที่ผมจะชอบใช้สีซึ่งตอนนี้ผมเรียกว่าเป็น ‘อาวุธ’ ของผมนั้น ผมชอบดีไซน์โดยไม่ใช้สีอะไรเลย” เค้ายังชี้ให้เห็นว่ามีการใช้สีดำอยู่เสมอในงานของเขา “ผมใช้สีสันเป็นเหมือนเสื้อเกราะ และผมก็มี palette สีที่ใช้ไม่มาก แต่จะต้องมีสีดำอยู่ด้วยเสมอ ถ้าหากไม่มีสีดำแล้ว ทุกสิ่งจะดูไร้โครงสร้าง”  

เขากล่าวว่า “ก่อนที่ผมจะชอบใช้สีซึ่งตอนนี้ผมเรียกว่าเป็น ‘อาวุธ’ ของผมนั้น ผมชอบดีไซน์โดยไม่ใช้สีอะไรเลย” เค้ายังชี้ให้เห็นว่ามีการใช้สีดำอยู่เสมอในงานของเขา “ผมใช้สีสันเป็นเหมือนเสื้อเกราะ และผมก็มี palette สีที่ใช้ไม่มาก แต่จะต้องมีสีดำอยู่ด้วยเสมอ ถ้าหากไม่มีสีดำแล้ว ทุกสิ่งจะดูไร้โครงสร้าง” 

การใช้สีสันของ Castelbajac นั้นจู่โจมแม้แต่ป้อมปราการที่ดูไม่น่าจะเป็นไปได้ ในปี 1997 เขาทำชุดให้กับบาทหลวง 500 คน พระ 5000 องค์และโป๊ป John Paul II เสื้อคลุมของโป๊ปนั้นปักประดับประดาด้วยกางเขนสีสดใสขลิบทองโดย Lesage ซึ่งภายหลังได้ไปจบลงที่งาน Met’s 2018 ในธีม Heavenly Bodies และภาพของเหล่าพระในชุดแถบสีรุ้งได้กลายเป็นตำนาน เราได้ถามเขาว่า เขาคุ้นเคยกับรูปสายรุ้งที่ถูกวาดโดยเด็กมากมายที่หน้าต่างในสถานพยาบาลทั่วประเทศอังกฤษอย่างไร “ผมรักมัน! นั่นคือสิ่งที่ผมทำ เช่นเดียวกับงานศิลปะจัดวางและเวิร์คช็อป Le peuple de demain ที่ Pompidou ซึ่งเชื้อเชิญให้เด็กๆมาสร้างสรรค์ธง และสัญลักษณ์ต่างๆในแบบของตัวเอง ในตอนที่ผมใช้สีสายรุ้งกับเหล่าวาติกันนั้นเป็นยุคก่อนที่จะมี Instagram ซึ่งหากลองคิดดูถึงพลังของการที่เราสามารถนำพาผู้คนมารวมตัวกันได้ในตอนนี้แล้ว สายรุ้งเป็นสัญลักษณ์ของทั้งเกย์ ชาวอินคา และสันติภาพ มันจึงเชื่อมโยงถึงชุมชนและสังคมทั้งหมด สำหรับผมแล้วมันคือธงของจักรวาลนี้ และเป็นธงเดียวที่มีความสำคัญมาก”  

เราได้ถามเขาว่า เขาคุ้นเคยกับรูปสายรุ้งที่ถูกวาดโดยเด็กมากมายที่หน้าต่างในสถานพยาบาลทั่วประเทศอังกฤษอย่างไร “ผมรักมัน! นั่นคือสิ่งที่ผมทำ เช่นเดียวกับงานศิลปะจัดวางและเวิร์คช็อป Le peuple de demain ที่ Pompidou ซึ่งเชื้อเชิญให้เด็กๆมาสร้างสรรค์ธง และสัญลักษณ์ต่างๆในแบบของตัวเอง ในตอนที่ผมใช้สีสายรุ้งกับเหล่าวาติกันนั้นเป็นยุคก่อนที่จะมี Instagram ซึ่งหากลองคิดดูถึงพลังของการที่เราสามารถนำพาผู้คนมารวมตัวกันได้ในตอนนี้แล้ว สายรุ้งเป็นสัญลักษณ์ของทั้งเกย์ ชาวอินคา และสันติภาพ มันจึงเชื่อมโยงถึงชุมชนและสังคมทั้งหมด สำหรับผมแล้วมันคือธงของจักรวาลนี้ และเป็นธงเดียวที่มีความสำคัญมาก”  

Photos and Story: Mark C. O’Flaherty / Living Inside
Translate: Titima C. 

Share

This is fashion designer and artist Jean-Charles de Castelbajac’s twenty third apartment in Paris, and possibly his last. “We are looking for a house,” he says, pouring coffee from his own-designed ceramic pot into a pair of espresso cups with brightly coloured china wings for handles. “I want to make larger sculpture, and I need a bigger atelier. That might mean a move out of the city.”

The current family home is a classic Haussmann apartment in the 17th arrondissement, a short walk from the Arc de Triomphe, next to a boulangerie selling madeleines and jet-black charcoal baguettes and overlooking a corner of fruit stalls. The 72-year-old designer, known for his use of cartoon imagery and primary bright colours, moved here two years ago, after his wife – the poet Pauline de Drouas, 36 – discovered she was pregnant. “Our home at the time was a more romantic apartment, with a garden,” he says. “But we needed somewhere functional, with a space I could work in.” A couple of days after the couple’s daughter Eugenie was born last year, the French capital went into Lockdown. The move had been fortuitous: “I was able to draw and work every day. Some of the drawings I made are in a book that hast just been published. I also spent a lot of time writing songs for Eugenie. Having her was the best therapy in the world.”

The designer who rose to fame in the 1970s for his upcycled, pun-packed designs, and who has counted Keith Haring, Andy Warhol and Malcolm McLaren among his closest friends and collaborators, made a major move back into the fashion industry when he took over as creative director of Benetton at the start of 2019. It made perfect sense – Castelbajac’s familiar colour palette of blue, green, red and yellow is in tune with the Italian label’s DNA, and the designer worked extensively with Benetton’s iconoclastic image maker, the photographer Oliviero Toscani, for years. Next to Castelbajac’s dining table is a wall of portraits shot by Toscani in the 1980s, featuring friends wearing the designer’s Iceberg label knitwear: “Vivienne, Andy, Franco Moschino and Ettore Sottsass… all the biggest influencers of the time,” he says.

Iceberg is still around today, but it is Castelbajac who conceived it in the 1970s. At the same time as his friend McLaren was inventing punk in London, he was creating knits emblazoned with cartoon characters, from Road Runner and Jerry to Felix the Cat in Paris, that went on to define a new streetwear movement, embraced by the world of hip hop. “Those clothes became the heraldry of Afro American kids,” he says. “And that was a long time before they were given the respect they have now, as the royalty of influencers.”

Castelbajac calls his apartment a typical “cabinet of curiosities”. It houses a collection of memories and artefacts from a fifty-year career – pieces he has made himself, furniture by his late friend Sottsass (founder of the postmodern Memphis collective) and artworks by Keith Haring and other friends. There’s a chair he decorated in collaboration with Kanye West, and in the corner of one room there’s another, with a jacket hanging over the back, stitched together from different coloured teddy bears. “It was first worn by LL Cool J back in the 1980s,” he says. “I remember he said that he felt wearing my clothes made him feel like he was wearing the equivalent of a coat for Henry VIII”. In recent years he has a become popular figure in London’s grime scene, flattered by receiving the moniker “JCDC”.

For someone so obsessed with colour, it’s surprising that Castelbajac has such an impressive collection of black and white photography, including notable works by Diane Arbus and his old friend Robert Mapplethorpe. But they are part of what he calls his “duality”. “Before I came to use colour, which I now call my ‘weapon’, I designed using no colour at all.” He also points out that there’s always black in his work. “I use colour as my armour, and I have a small palette, but there’s always black. Without it, there’s no structure.”

Castelbajac’s assault of colour has invaded unlikely citadels. In 1997 he dressed 500 bishops, 5,000 priests and Pope John Paul II. The Pope’s gown, emblazoned with coloured crucifixes embroidered with gold outlines by Lesage, ended up in the Met’s 2018 Heavenly Bodies fashion extravaganza, while the image of thousands of clergies clad in rainbow stripes has become iconic. I ask him how familiar he is with what the rainbows drawn by countless children in homage to the NHS, put in windows across the UK. “I love it! It’s what I’ve been doing with my installation and workshop – Le peuple de demain – at the Pompidou until next May, inviting children to come and create their own flags and symbols. When I used the rainbow with the Vatican it was before Instagram. Now, think of the power of how we can bring people together. The rainbow is the symbol of the gay community, the Incas and of peace. It brings together all communities. For me, it is the flag of the universe. It is the only flag that has power today or matters.”